วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559

Reflexive Pronouns

Reflexive Pronouns
reflexive (adj.) [grammar]: reflecting back on the subject, like a mirror
We use a reflexive pronoun when we want to refer back to the subject of the sentence or clause. Reflexive pronouns end in "-self" (singular) or "-selves" (plural).

There are eight reflex  อ่านเพิ่มเติม


Yes/No Question

Yes/No Question         คำถามแบบรับและปฏิเสธ
     ประโยคคำถาม (Interrogative Sentences)
ในการพบปะพูดคุยกันในตอนแรกๆ หรือเมื่อพบกันใหม่ๆ นั้น ส่วนมากมักจะเป็นการถามไถ่สารทุกข์สุกดิบกัน หรือถามเกี่ยวกับเรื่องราว หรือเหตุการณ์ต่างๆ ดังนั้น จึงใช้ประโยคคำถามคำตอบกันเป็นส่วนมาก จึงมีคำถามว่า เมื่อเราพบกันใหม่ๆ มักจะพูดใช้เสียงสระอะไรมากที่สุด คำตอบก็คือเสียงสระไอ ซึ่งก็คือคำถามนั้นเอง เช่นถามว่ามาเมื่อไร สบายดีไหม อยู่ที่ไหน มากั  อ่านเพิ่มเติม




Simple Past Tense

 
             Simple Past Tense ใช้เมื่อ แสดงเหตุการณ์ หรืออาการที่เกิดขึ้นเเละสิ้นสุดไปแล้วในอดีต
      จึงมักมีคำบ่งเวลาที่เป็นอดึตกำกับอยู่ด้วย   เช่น
yesterday
last week
last year
ago
last night
in 1962
once
last month
etc.
          ตัวอ  อ่านเพิ่มเติม


วันพุธที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2559

How far

    How far = ไกลแค่ไหน
How long = นานแค่ไหน 
How far จะใช้ถามเกี่ยวกับระยะทาง
How far is it from Bangkok to Chiang Mai? = จา  อ่านเพิ่มเติม




วันจันทร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การใช้ Which

 Which เป็น คำสรรพนาม (pronoun)’ และเป็น คำที่ใช้นำหน้าคำนาม (deter-
miner) คือ Which + noun’ เราจึงสามารถใช้ which สร้างประโยคคำถามได้ 2 วิธี
ดังต่อไปนี้
1.การสร้างประโยคคำถามด้วย ‘which’
ที่เป็น คำสรรพนาม
    Which ที่เป็น คำสรรพนามตรงกับคำในภาษาไทยว่า สิ่งไหน’, ‘อันไหนหรือ
คนไหน

    เราจึงใช้ which ในสถานการณ์ที่เป็นการชี้ห  อ่านเพิ่มเติม



การเติม s ที่ท้ายคำ

     การเติม s es ที่คำกริยา ก็คล้ายกันกับการเติม  s es ที่ท้ายคำนาม เพื่อทำคำนามให้เป็นนามพหูพจน์ทุกประการ ยกเว้นท้ายกริยาที่ลงท้ายด้วย o เท่านั้นที่แตกต่างนิดหนึ่ง เพราะกริยาที่ลงท้ายด้วย o ให้เติม es อย่างเดียว ไม่เหมือนคำนามที่เติม s บ้าง es บ้าง
หลักการเติม s es มีดังนี้
หากประธานเป็นเอกพจน์ กริยาเติม s,es ส่วนประธา อ่านเพิ่มเติม







                                                    

การออกเสียงที่ลงท้ายด้วย s/-es

     Pronunciation: -s, -es
สำหรับคำนามพหูพจน์ในภาษาอังกฤษจะเติม -s หรือ -es ต่อท้าย ขึ้นอยูกับว่า คำลงท้ายด้วยอะไร

คำที่ลงท้ายด้วย -zz, -ss, -ch, -sh จะต้องเติม -es
คำที่ลงท้ายด้วยตัวอื่นๆ สามารถเติม -s อย่างเดียว

นอกจากนั้นแล้ว คำกริยาที่ใช้กับประธานเอกพจน์ซึ่งต้องเติม -s หรือ -es ก็สามารถใช้กฎเดียวกันได้

แต่การ pronunciation สำหรับที่เติม -s หรือ -es แบ่งเป็น 3 อ่านเพิ่มเติม



Future Simple Tense

          Future Simple Tense
ที่บอกว่า “อนาคตธรรมดา” หมายถึง ในช่วงเวลาหนึ่งของอนาคต จะมีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้น (เช่น ฉันจะทำอะไรบางอย่าง ในเวลานั้น เป็นต้น)
โครงสร้าง             

            I, You, He, She, It, W  อ่านเพิ่มเติม


Past Simple Tense

Past Simple Tense (Tense อดีตธรรมดา)
 หลักการใช้
Past Simple Tense ถือว่าง่ายที่สุดเลยเพราะประธานทุกตัวใช้กริยาช่องสองเหมือนกัน (เว้น was ใช้กับประธานเอกพจน์, were ใช้กับประธานพหูพจน์) ให้จำหลักสำคัญของ Tense นี้ไว้ว่า เป็นการเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นในอดีต และก็จบลงไปแล้วด้วย ไม่เกี่ยวข้องกับปัจจุบัน

1. ใช้เล่าเหตุการณ์ในอดีต ที่จะระบุเว อ่านเพิ่มเติม


Present Simple Tense

Present Simple Tense (Tense ปัจจุบันธรรมดา)
       โครงสร้าง

S + V1 (ประธานเอกพจน์ กริยาเติม s,es)
ประธาน + กริยาช่องที่ 1 (ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ กริยาต้องเติม s หรือ es แล้วแต่กรณี)
S +
กริยาช่วย + V1
ประธาน + กริยาช่วย + กริยาช่องที่ 1 (ไม่ต้องเติม s ทุกกรณี)
กริยาช่วยที่ใช้บ่  อ่านเพิ่มเติม